เครื่องแต่งกาย นักแสดงในภาพยนตร์ เป็นอะไรที่สำคัญยิ่ง
หน้าที่นี้คือ Costume Stylist :
Sky Exits Films Production เราพิถีพิถัน ในเรื่องเสื้อผ้านักแสดง มากๆ
บทบาทเครื่องแต่งกายในการแสดง
ความหมายของการออกแบบตกแต่งเครื่
องแต่งกายในการแสดง การออกแบบเครื่องแต่งกายเป็
นการแสดงแบบตัวอย่างของเครื่
องแต่งกายเพื่อใช้ในการแสดง ซึ่งแบบตัวอย่างของเครื่องแต่
งกายจะแตกต่างกันไปตามแนวคิด และความคิดสร้างสรรค์ของนั
กออกแบบ
โดยปัจจัยที่มีบทบาทสำคั
ญในการกำหนดทิศทางของแนวคิดสร้
างสรรค์ คือ ขนบธรรมเนียมประเพณี และค่านิยมของผู้คนในแต่ละยุ
คสมัย ในแต่ละท้องถิ่น หรืออาจเป็นการออกแบบที่ดั
ดแปลงมาจากเครื่องแต่งกายซึ่
งกำลังได้รับความนิยมอยู่ในสมั
ยนั้นๆ หรือเคยได้รับความนิยมมาก่อนแล้
วในอดีต โดยเป็นการออกแบบที่อาศัยการวิ
เคราะห์ตีความ บทละคร ตัวละคร รวมทั้งยังต้องคำนึงถึงรู
ปแบบการแสดง รูปร่างของนักแสดง สถานที่ที่จะใช้แสดงและวัตถุ
ประสงค์ในการนำเสนอการแสดงเป็
นหลัก
หน้าที่ของเครื่องแต่งกายสำหรั
บการแสดง 1
นำเสนอยุคสมัยของละครหรือเรื่
องราวที่เกิดขึ้นในการแสดง เครื่องแต่
งกายนำเสนอภาพรวมของความนิ
ยมของผู้คนในแต่ละสมัย เครื่องแต่งกายในแต่ละยุคก็ต่
างมีเอกลักษณ์เฉพาะของตน ซึ่งสามารถบ่งบอกวิถีชีวิตและค่
านิยมของผู้คนในสมัยนั้นๆ เครื่องแต่งกายที่ตัวละครสวมใส่
จึงสามารถแสดงเวลาที่สถานการณ์
ในละครนั้นเกิดขึ้นว่าเป็นยุ
คสมัยใด
นำเสนอสถานที่ของละคร เครื่องแต่งกายแต่ละประเภทมีหน้
าที่ต่างกัน เช่น เสื้อโค้ท เป็นเสื้อที่ใช้สวมใส่เมื่อต้
องการออกนอกบ้านในฤดูหนาว หรือวันที่มีอากาศหนาว โดยเป็นเครื่องแต่งกายที่จำเป็
นในประเทศที่มีอากาศหนาวอย่าง ทวีปยุโรป ดังนั้นเมื่อตัวละครสวมใส่เครื่
องแต่งกายประเภทใด คนดูก็จะสามารถเข้าใจได้ว่ามีลั
กษณะอากาศเป็นอย่างไร และน่าจะตั้งอยู่ในภูมิภาคใด เป็นต้น 3. นำเสนอบุคลิกลักษณะของตัวละคร เครื่องแต่งกายแสดงออกซึ่งบุคลิ
กลักษณะนิสัยและรสนิยมของผู้
สวมใส่
นำเสนอสถานภาพของตัวละคร รูปแบบ ลักษณะ และรายละเอียดการตัดเย็บของเครื่
องแต่
งกายแสดงนำเสนอสถานภาพของตั
วละคร ว่าตัวละครนั้นมีสถานภาพทางสั
งคมและเศรษฐกิจเป็นอย่างไร เช่น ลักษณะการแต่งกายของชนชั้นสูง ชนชั้นกลาง และชนชั้นแรงงานในอดีตต่างมีรู
ปแบบที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นความแตกต่
างนี้ก็เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย และปัจจัยต่างๆ เช่น สถานการณ์ทางการเมือง ศาสนา สังคมและเศรษฐกิจ
ลักษณะของการออกแบบเสื้อ การออกแบบเสื้อแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1.
การออกแบบในโครงสร้างของเสื้อผ้
า (Structure Design) คือ การกำหนดโครงสร้าง รูปทรงและเส้นกรอบนอก ชนิดตะเข็บ ชนิดกระเป๋า สีและเนื้อผ้าที่นำมาตัดเย็บ
การออกแบบเพิ่มเติ
มภายนอกของโครงสร้าง (Decorative Design) การนำวัสดุอื่นมาตกแต่งเพิ่มเติ
ม เพื่อสร้างรายละเอี
ยดและลวดลายให้กับตัวเสื้อผ้า เช่น การติดลูกไม้ กระดุม โบ พู่ เป็นต้น การตกแต่งนี้นอกจะทำเพื่อเสริ
มให้ตัวเสื้อมีความโดดเด่นยิ่
งขึ้นแล้ว ยังพิจารณาออกแบบให้สี ขนาด และพื้นผิวสัมผัสของวัสดุตกแต่
งมีความสัมพันธ์กับโครงสร้
างของเสื้อ โดยในเนื้อหาของรายวิชานาฏยหั
ตถกรรม จะเน้นการออกแบบเพิ่มเติ
มภายนอกของโครงสร้างของเครื่
องแต่งกายการแสดงเป็นหลัก
วิธีการตกแต่งเสื้อ การออกแบบตกแต่งเสื้อ นอกจากจะช่วยให้เสื้อผ้ามี
ความสวยงาม น่าสนใจและดูโดดเด่นแปลกตาแล้ว ก็ยังช่วยปกปิดส่วนบกพร่องของร่
างกาย และฝีมือการตัดเย็บที่ไม่ปราณี
ตได้
วิธีตกแต่งเสื้อ มี 3 วิธี คือ
1. ใช้เครื่องประดับเพิ่มเติมต่
างหากจากตัวเสื้อ เช่น การติดเข็มกลัดดอกไม้ หรือ เข็มกลัดที่ทำจากโลหะหรือประดั
บด้วยเพชรพลอย
2. ทำส่วนหนึ่งส่วนใดที่เป็
นโครงสร้างของเสื้อให้น่าสนใจ การตกแต่งเสื้อวิธีนี้ เป็นการตกแต่งส่วนหนึ่
งของแบบเสื้อ ไม่สามารถตัดหรือถอดออกได้ เช่น รูปแบบขอกปกเสื้อ กระเป๋าเสื้อ ตะเข็บ การตีเกล็ด เป็นต้น
3. ใช้วัสดุอื่นเพิ่มติดไปกับตั
วเสื้อ การตกแต่งเสื้อด้วยวิธีนี้ แม้ไม่มีหรือขาดหายไป ก็จะไม่ทำให้แบบเสื้อเสียทรง เนื่องจากเป็นการเพิ่มรายละเอี
ยดลงบนตัวเสื้อ เช่น การติดลูกไม้ ชายครุย โบ พู่ เป็นต้น
หลักการออกแบบตกแต่งเสื้อ
1. การตกแต่งให้สัมพันธ์กับโครงสร้
างของเสื้อเพื่อไม่ให้ดูรกรุงรั
ง
2. การตกแต่งให้สัมพันธ์กับลั
กษณะปลีกย่อยและผิวสัมผัสของผ้
าตัวเสื้อ เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกลมกลื
น
3. การตกแต่งอย่างมีเอกภาพทำให้ดู
โดดเด่นและน่าสนใจกว่าการตกแต่
งมากมาย หลายบริเวณ
4. การเลือกสีไม่ให้ดูขัดตา
5. ขนาดของวัสดุตกแต่งสัมพันธ์กั
บขนาดบริเวณที่จะตกแต่ง เพื่อให้เกิดความสวยงาม กลมกลืน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับตัวเสื้
อ
CR:
http://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/0601407/Website/unit4_01.htm
No comments:
Post a Comment